สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 6 อ าเภอนาตาล (อุบลราชธานี) – เมืองละคอนเพ็ง (สาละวัน)


2019-07-06 12:26

จำนวนครั้งที่อ่าน : 14,418

โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 6 อุบลราชธานี – สาละวัน บริเวณบ้านปากแซง ต าบลพะลาน อ าเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี กับบ้านปากตะพาน เมอืงละคอนเพ็ง แขวงสาละวัน ความกว้างของแม่น าโขง ประมาณ 800 - 900 เมตร เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดอุบลราชธานี กับสปป.ลาว ที่แขวงสาละวัน จะเป็นอีกจุดหนึ่งที่สามารถเชื่อมกับภาคกลางของเวียดนามตามเส้นทางหมายเลข 15B

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 6 อ าเภอนาตาล (อุบลราชธานี) – เมืองละคอนเพ็ง (สาละวัน)

โดย ชวลิต องควานิช

ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์หอการค้าจังหวัดอุบลฯ

แนวทางการพัฒนาเชื่อมโยงดา้นขนส่ง เรื่องการค้าและโลจสิติกส์ การอ านวยความสะดวกด้านการค้าและคมนาคม ขนส่งบริเวณจุดผ่านแดน การพัฒนาเมืองชายแดนจากฐานการผลิตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อแปรสภาพจาก Transport Corridor (ด้านขนส่ง) ไปส ู่Economic Corridor (ด้านเศรษฐกิจ) เป็นประตูการค้าสู่ฝั่งตะวันออกที่ทะเลจีนใต้ ประเทศเวียดนาม ตามกรอบการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น าโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) เพื่อเป็นฐานการบริการการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวจังหวัดเชื่อมโยงได้แก่ หนองคาย มุกดาหาร นครพนม บึง กาฬ อุบลราชธานี จุดเชื่อมไดแ้ก่

  1. สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 1 หนองคาย – เวียงจันทน์
  2. สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 2 มุกดาหาร – สะหวันนะเขต
  3. สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 3 นครพนม – ค าม่วน
  4. สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 เชียงของ (เชียงราย) – ห้วยทราย (บ่แก้ว) 5. สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 5. บึงกาฬ – บอลิคำไซ
  5. สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 6 นาตาล (อุบลราชธานี) – ละคอนเพ็ง (สาละวัน)

ส่วนใน สปป.ลาว ที่แขวงจา ปาสัก จะมีสะพานมิตรภาพ ลาว –ญี่ปุ่น ข้ามแม่น าโขง ระหว่างเมืองเก่า – ปากเซ สรา้ง เสร็จเมื่อปี ค.ศ. 2000 เรียกสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 2 เพื่อเชื่อมโยงจังหวัดอุบลราชธานี ผา่นด่านพรมแดนช่องเม็ก – วัง เต่า ผา่นแขวงจ าปาสัก ออกสู่ทะเลจีนใต้ที่เวียดนาม ตามเสน้ทางคู่ขนานระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก (Para – EWEC)

แขวงสาละวัน 1 ใน 4 แขวงภาคใต้ของ สปป.ลาว มีชายแดนทิศเหนือติดกับแขวงสะหวันนะเขต 275 กม. ทิศ ตะวันออกติดกับเวียดนาม (กวางตรี, เว้) ระยะทางประมาณ 80 กม. ทิศใต้ติดกับแขวงเซกอง 200 กม. ทิศตะวันตก ติดกับ แขวงจ าปาสัก 175 กม. และจังหวัดอุบลฯ (ไทย) มีแม่น าโขงกั นยาว 90 กม. ระหว่างอ าเภอเขมราฐ นาตาล และโขงเจียม ประเทศไทย และสปป.ลาว ทงั สองประเทศเห็นพ้องที่จะสานความร่วมมือด้านต่างๆ โดยเฉพาะความเชื่อมโยง ระหว่างกัน และเห็นชอบที่การให้กู้ยืมการสร้างสะพานแห่งที่ 5 บึงกาฬ – ปากซัน และพร้อมพิจารณาโครงการสะพานแห่งที่ 6 อุบลราชธานี – แขวงสาละวัน รวมถึงการสรา้งถนนภายในประเทศและบริเวณแนวชายแดนเพื่อรองรับการจัดตั ง และ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และเห็นร่วมกันที่จะน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ในระบบตรวจคนเข้าเมือง การขอวีซ่า การใช้บัตร สมาร์ทการ์ด รวมทั งสนับสนนุการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวร่วมกันเพื่อพัฒนาเส้นทาง คมนาคมเชื่อมโยงถึงกัน และด้านการคา้ – ท่องเที่ยว

โครงการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 6 อุบลราชธานี – สาละวัน บริเวณบ้านปากแซง ต าบลพะลาน อ าเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี กับบ้านปากตะพาน เมอืงละคอนเพ็ง แขวงสาละวัน ความกว้างของแม่น าโขง ประมาณ 800 - 900 เมตร เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดอุบลราชธานี กับสปป.ลาว ที่แขวงสาละวัน จะเป็นอีกจุดหนึ่งที่สามารถเชื่อมกับภาคกลางของเวียดนามตามเส้นทางหมายเลข 15B โดยเริ่มจากอ าเภอนาตาล ผ่านเมือง ละคอนเพ็ง, คงเซโดน สู่แขวงสาละวัน ระยะทาง 150 กม. จากสาละวัน ถึงชายแดนเมืองสะม่วย (ด่านละไล) ระยะทาง 147 กม. ออกสู่ ทะเลจีนใต้ของเวียดนามที่เมืองเว้ ระยะทาง 120 กม. รวมระยะทางจากอ าเภอนาตาล ผ่านสาละวัน ถึง เมืองเว้ 417 กม. ซึ่งเป็นเส้นทางออกสู่ทะเลจีนใต้ที่เวียดนามตอนกลางอีกเส้นหนึ่งที่สร้างเสร็จแล้วเป็นถนนลาดยาง 2 ช่อง จราจร เปิดใช้เป็นทางการแลว้ และเป็นด่านสากลระหว่าง ลาว-เวียดนาม เป็นเส้นทาง Para – EWEC ที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ ผ่านภูเขาที่ไม่สูงเกินไป เหมาะส าหรับการขนส่งและท่องเที่ยว

เพื่อพัฒนาให้จังหวัดอุบลราชธานี เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การค้า การลงทุน การเกษตร การขนส่งของอิสานใต้ และของอินโดจีนตอนกลาง ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) โดยมี เป้าหมายในการรวมตัวกันเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน แรงงานมี ฝีมืออย่างเสรี

ฝ่ายเกษตรกรรมหอการค้าจังหวัดอุบลฯ ยังคงสนับสนุนการเกษตร 3 ประเด็นหลัก คือ เกษตรพอเพียง เกษตร ครบวงจรเกษตรนอกฤดู และการเก็บรักษา การแปรรูป การถนอมอาหาร การบรรจุหีบห่อ หรือการบรรจุภัณฑ์ จากผลผลิต ทางการเกษตรเป็นการเพิ่มมลูค่าของผลผลิต เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ นของเกษตรกรไทย


หอการค้า จังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อ 2529 ทำหน้าที่ เป็นองค์กรภาคเอกชน ที่ให้คำปรึกษาด้านเศรษฐกิจ แก่ภาครัฐ ในรูปแบบ กรอ.จังหวัด และมีหน้าที่ สื่อสาร ส่งข่าว ให้สมาชิก ทราบความเคลื่อนไหว ภาวะข้อมูล เศรษฐกิจ ของ จังหวัดอุบลราชธานี บริหารงาน ด้วย นโยบายการพัฒนา สมัยใหม่ หากต้องการ ข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ สำนักงาน หอการค้า โทร. 045-243603